งานกู้ชาติในสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงกอบกู้ชาติไทยจากพม่า เมื่อคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ในขณะที่เมืองไทยอยู่ในสภาพบ้านแตกสาแหรกขาด เพราะพม่าทำสงครามกับไทยครั้งนี้ ไม่ได้คิดจะรักษาเมืองเมืองไทยไว้เป็นเมืองขึ้น หมายแต่จะเอาทรัพย์สมบัติ กับกวาดต้อนผู้คนไปเป็นเชลย


 

ราชการสงครามในสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

เป็นเหตุการณ์ที่ยิ่งใหญ่และสำคัญยิ่งของชาติไทย พระองค์ได้กู้อิสรภาพของไทยจากการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งแรก และได้ทรงแผ่อำนาจของราชอาณาจักรไทย อย่างกว้างใหญ่ไพศาล นับตั้งแต่ประเทศพม่าตอนใต้ทั้งหมด นั่นคือ จากฝั่งมหาสมุทรอินเดียทางด้านตะวันตก


 
พระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ประเทศไทย ในรัสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ เป็นช่วงเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลง พระองค์ได้ทรงนำประเทศไทย ให้ผ่านพ้นวิกฤตกาล จากการล่าอาณานิคมของชาติตะวันตก ด้วยพระปรีชาสามารถอันสูงยิ่ง หาผู้เสมอเหมือนมิได้ และยังทรงนำประเทศไทยไปสู่ความเจริญก้าวหน้าทันสมัย ทัดเทียมนานาอารยประเทศนานัปการ



 
  ประชุมพงศาวดาร

การศึกษาหาความรู้พงศาวดาร และตำนานเก่าย่อมถือว่าเป็นส่วนสำคัญอย่าง ๑ ใน การศึกษาทั่วทุกประเทศ ในสยามประเทศแต่โบราณมา ท่านผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดินตั้งต้นแต่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลก่อน ๆ มา ก็ย่อมเป็นพระราชธุระทำนุบำรุงความรู้พงศาวดารตลอดมาแทบทุกรัชกาล


 


พระบรมราโชวาท

"หลักการสำคัญประการหนึ่งที่จะส่งเสริมให้ปฏิบัติงานสำเร็จ และเจริญก้าวหน้าได้แท้จริง คือการไม่ทำตัวทำความคิดให้คับแคบ หากให้มีเมตตา และไมตรียินดีประสานสัมพันธ์กับผู้อื่นโดยเฉพาะผู้ร่วมงานอย่างจริงใจ"



ร.๖ กับการป้องกันประเทศ ยาสีพระทนต์ของในหลวง
พระราชดำริ ในร.๗  
พระราชลัญจกร  
จอมทัพไทย  
พระราชหัตถเลขา ร.๔  
พระราชานุกิจ  
เหรียญกล้าหาญ  
พระราชดำรัส  
ประชุมพระราชปุจฉา  
   
   



จากหลักฐานในศิลาจารึก
พระเจ้าแผ่นดินไทย ในสมัย
ราชอาณาจักรสุโขทัย
มีอยู่ ๘ พระองค์ อยู่ในราชวงศ์






สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑
สมเด็จพระเจ้าอู่ทอง
ทรงเป็นปฐมกษัตริย์
ของกรุงศรีอยุธยา
เสด็จพระราชสมภพ





สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
พระนามเดิมว่า สิน ทรง
พระราชสมภพ เมื่อปี
พ.ศ. ๒๒๗๗ ที่บ้านใกล้กำแพง
พระนครศรีอยุธยา





พระบาทสมเด็จพระพุทธ
ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
รัชกาลที่ 1 พ.ศ. 2325-2352
ครองราชย์ 27 พรรษา
พระชนมายุ 74 พรรษา





พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
เป็นพิธีที่ผสมด้วยลัทธิพราหมณ์
และพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท
และยังมีลัทธิเทวราชของ
เขมรมาผสมอยู่อีกส่วนหนึ่ง




ในงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก
ของพระมหากษัตริย์ไทย มีขั้นตอน
ที่สำคัญอยู่ประการหนึ่ง คือ
การทรงรับน้ำอภิเษก
เพื่อแสดงความเป็นเจ้าเป็นใหญ่




พระราชพิธีสำหรับ
พระนครที่เคยมีมาแต่ก่อน
อาศัยที่มาเป็นสองทางคือ
ศาสนาพราหมณ์
พระพุทธศาสนาทางหนึ่ง