พระอาจารย์หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินธโร
เดิมชื่อวิริยังค ์บุยฑีย์กุลเป็นบุตรขุนเพ็ญภาษชนารมย์
กับนางมั่น บุญฑีย์กุล เกิดเมื่อวันศุกร์ที่ 7 มกราคม
2463 ณ สถานีรถไฟปากเพรียว จังหวัดสระบุรี มีพี่น้อง.
7..คน วันหนึ่งขณะที่ท่าน มีอายุประมาณ 13 ปี เพื่อน
ผู้หญิงคนหนึ่ง ชวนให้ไปวัดเป็นเพื่อนขณะที่รอเพื่อน
ไป ต่อมนต์(ท่องบทสวดมนต)์ี


 

โครงการประทีปเด็กไทย
หลวงพ่อได้มาพักรักษาตัวอยู่ที่สำนักสงฆ์น้ำตก
แม่กลาง เห็นลูกหลานชาวบ้านน่าสงสารเวทนาน่า
หดหูใจ ทั้งอดยากไร้การศึกษา ชาวบ้านก็ยากจน
ทำให้คิดถึงเมื่อครั้งที่หลวงพ่อไปประเทศเยอรมัน
กับนายเฮอร์มั่นชาวเยอรมัน เขาบอกว่าถ้าต้องการ
ให้ประเทศไทยเจริญ ต้องเริ่มต้นพัฒนาเด็กๆก่อน



 

 

มาปลูกต้นกล้าแห่งความดีกันเถอะ

มีสามเณรจำนวนมากที่วนเวียนเข้ามาอาศัยบ่ม
พระศาสนาในการศึกษาเล่าเรียนแต่หนทางแห่ง
ความปลูกต้นกล้าแห่งความดีนั้นไม่ได้ง่ายอย่าง
ที่คิด ต้องฟันผ่าอุปสรรคต่างๆนาๆ ก่อนจะได้ห่ม
ผ้าเหลืองได้ นี้เป็นกระทู้ที่สามเณรเขียนถึงชีวิตต้องส
ู้




ประวัติหลวงปู่มั่น  
ประวัิติหลวงพ่อ  
ธรรมจากหลวงพ่อ  
 
 
 
รร.วัดธรรมมงคล
ศูนย์วิชาชีพกทม
โรงหยก
โรงเย็บผ้า
ศาลาพระเทพเจติยาจารย์
พระภิกษุสามเณร
โรงเย็บผ้า
กุฏิ
 
 
 
 
 





วัดธรรมมงคลมีชื่อเดิมว่า
วัดป่าสะแก เพราะบริเวณวัด
เมื่อก่อนมีต้นสะแกมากต่อ
มาภายหลังได้ตั้งชื่อเป็นทาง
การตามนามผู้ถวายว่า






พุทธบูชา มหาเตชะวันโต
ธัมมะบูชา มหัปปัญโญ
สังฆะบูชา มหาโภคะวะโห
อิจเจตัง รัตนนัตตะยัง
อะหังวันทามิ สัมพะทา





พระเทพเจติยาจารย์เจ้า
อาวาสวัดธรรมมงคลได้
นิมิตเห็นหยกสีเขียวบริ
สุทธิ์ก้อนใหญ่ที่สุด ในโลก
กำเนินขึ้นแล้วน้ำหนัก 32 ตัน






การทำสมาธิ สะสมพลังจิต
ได้เล็งเห็นว่า ปัจจัยหนึ่งที่
สนับสนุนผู้ปฏิบัติธรรมและ
ช่วยให้จิตใจสงบได้โดยเร็ว
คือ สถานที่สัปปายะที่มีลักษณะ
เป็นป่าไม้และภูเขา




ผู้สือทอดอายุพระศาสนา
ได้มีการจัดระบบการศึกษา
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ









ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
สวนสุนันทา ได้เป็นที่ประทับ
ของพระมเหสี พระราชธิดา
และ เจ้าจอมมารดา ในพระ





ผู้คนสารทิศร่วมกันสวดลักขี
ร่วมกันปฏิบัติบูชา สวดลักขี
และร่วมกันแสดงมิตาจิตต่อ
หลวงพ่อวิริยังค์





ขอเชิญศิษยานุศิษย์พระอาจารย์หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินธฺโร ร่วมกันแสดงมุตาสักการะ เนื่องวันคล้ายวัดเกิดอายุวัฒนะ 86 พรรษา มีการบวชชีพราหมณ์และสวดลักขีหมื่นคน ที่วัดธรรมมงคล 7 มกราคม 2550